วันเสาร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2562

47) Operation Fishbowl ปฏิบัติการทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ในชั้นอวกาศ

อเมริกาได้ทำการทดสอบระเบิดนิวเคลียร์มาตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 (ช่วงปี 1945 - 1963) โดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 4 ประเภทคือ

1. การทดสอบบนในชั้นบรรยากาศโลก (Atmospheric)

Nuclear Test Film Highlights - Restored Footage, New Films, Epic Explosions
https://www.youtube.com/watch?v=4u3xywbrHS8


2. การทดสอบใต้ผิวโลก (Underground)

6.8 Magnitude Earthquake Simulated by Underground Nuclear Explosion!
https://www.youtube.com/watch?v=UPwSN9gUG5c


3. การทดสอบในชั้นอวกาศ (Exoatmosphere)

Declassified U.S. Nuclear Test Film #62
https://www.youtube.com/watch?v=KZoic9vg1fw

4. การทดสอบใต้ผิวน้ำ (Underwater)

HD atomic bomb Underwater Nuclear Burst finial version tsunami bomb 1958


ถ้าดูข้อมูลจาก Wikipedia การทดสอบระเบิดนิวเคลียร์มีปฏิบัติการอยู่หลายประเทศรวมกันก็ 2,121 ครั้ง และอเมริกามีการทดสอบมากที่สุดคือ 1,032 ครั้ง รองลงมาคือสหภาพโซเวียต 727 ครั้ง


High Altitude Nuclear Test

สำหรับการทดสอบนิวเคลียร์ที่จะนำเสนอเป็นการทดสอบยิงนิวเคลียร์ขึ้นไปสูงถึงชั้นอวกาศ ไปถึงชั้นไอโอโนสเฟียร์ (ประมาณ 60 กม.ขึ้นไปจนถึง 1,000 กม.)



สหรัฐอเมริกาทำการทดสอบครั้งแรกในปี 1958 ภายใต้ชื่อปฏิบัติการ Hardtack ที่มหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด 3 ครั้ง
  1. Yucca สูง 26.2 กม. แรงระเบิด 1.7 กิโลตัน
  2. Teak สูง 76.8 กม. แรงระเบิด 3.8 เมกะตัน
  3. Orange สูง 43 กม. แรงระเบิด 3.8 เมกะตัน
Operation Hardtack, Military Effects Studies, Part 2 - High Altitude Studies (1958)
https://www.youtube.com/watch?v=ygQgWKtNFhg


Operation Hardtack - Yucca Shot
https://www.youtube.com/watch?v=I5T05YoVcAk


ต่อมาปีเดียวกันมีการทดสอบอีกในปฏิบัติการ Argus โดยใช้ระเบิดนิวเคลียร์ติดไปกับจรวด Lockheed X-17 คราวนี้ยิงขึ้นไป 3 ครั้งจากเรือกลางมหาสมุทรแอตแลนติคใต้ ระเบิดนิวเคลียร์นี้ถูกยิงขึ้นไปในระดับที่สูงมากกว่าร้อยกิโล
  1. Argus I สูง 200 กม. แรงระเบิด 1.5 กิโลตัน
  2. Argus II สูง 240 กม. แรงระเบิด 1.5 กิโลตัน
  3. Argus III สูง 540 กม. แรงระเบิด 1.5 กิโลตัน
Operation Argus - Project Argus 1958


ต่อมาปี 1962 มีการทดสอบอีกครั้งในปฏิบัติการที่ชื่อว่า Operation Dominic ซึ่งมีปฏิบัติการ Operation Fishbowl อยู่ในโครงการนี้ ทดสอบที่มหาสมุทรแปซิฟิก

Operation Dominic (1962)

HD Operation Fishbowl nuke blast in space 1962
https://www.youtube.com/watch?v=AkujMTSFr9o





ในปฏิบัติการ Operation Fishbowl มีการยิงระเบิดนิวเคลียร์ขึ้นไปในอวกาศ 5 ครั้ง
1. Starfish Prime สูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศถึง 399 กม. แรงระเบิด 1.4 เมกะตัน
2. Checkmate สูง 147 กม. แรงระเบิด 10 กิโลตัน
3. Bluegill 3 Prime สูง 48.2 กม. แรงระเบิด 400 กิโลตัน
4. Kingfish สูง 96.3 กม. แรงระเบิด 400 กิโลตัน
5. Tightrope สูง 21 กม. แรงระเบิด 10 กิโลตัน

สหภาพโซเวียต

นอกจากนั้นสหภาพโซเวียตก็มีการทดสอบการยิงนิวเคลียร์แบบนี้เช่นกันมีทั้งหมด 7 ครั้ง ระหว่างปี 1961 - 1962
1. #88 Groza ("Joe 79") ยิงวันที่ 6 ก.ย. 1961 ระดับความสูง 22.7 กม. แรงระเบิด 10.5 กิโลตัน
2. #115 Grom ("Joe 98") ยิงวันที่ 6 ต.ค. 1961 ระดับความสูง 41.3 กม. แรงระเบิด 40 กิโลตัน
3. K PROJECT--#127 K-2 ("Joe 109?") ยิงวันที่ 27 ต.ค. 1961 ระดับความสูง 150 กม. แรงระเบิด 1.2 กิโลตัน
4. K PROJECT--#128 K-1 ("Joe 105?") ยิงวันที่ 27 ต.ค. 1961 ระดับความสูง 300 กม. แรงระเบิด 1.2 กิโลตัน
5. K PROJECT--#184 K-3 ("Joe 157")  ยิงวันที่ 22 ต.ค. 1962 ระดับความสูง 290 กม. แรงระเบิด 300 กิโลตัน
6. K PROJECT--#187 K-4 ("Joe 160") ยิงวันที่ 28 ต.ค. 1962 ระดับความสูง 150 กม. แรงระเบิด 300 กิโลตัน
7. K PROJECT--#195 K-5 ("Joe 168") ยิงวันที่ 1 พ.ย. 1962 ระดับความสูง 59 กม. แรงระเบิด 300 กิโลตัน



https://www.youtube.com/watch?v=OqPkG_wCGAA


ต่อมาเมื่อวันที่ 5 เมษายน 1963 อเมริกาและโซเวียตได้ลงนามในสัญญาร่วมกันเพื่อแบนการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ในชั้นบรรยากาศ ในมหาสมุทร และในอวกาศ


The Worst Nuclear Testing You've Never Heard Of

สรุป

การยิงนิวเคลียร์เพื่อการทดสอบในชั้นอวกาศที่มีความสูงมากกว่า 40 กม. มีทั้งหมด 15 ครั้ง อเมริกายิง 9 ครั้ง โซเวียตยิง 6 ครั้ง อเมริกายิงได้สูงที่สุดคือ Argus III เมื่อวันที่ 6 ก.ย. 1958 สูงถึง 540 กม. 


-------------------------------------------------

วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

46) แหล่งทรัพยากรแร่ธาตุใน Antarctica

ข้อมูลนี้เคยโพสไปแล้วแต่เห็นช่วงหลังมีสมาชิกเข้ามาใหม่เยอะ เลยขออนุญาตโพสอีกทีนะจะได้ไม่ต้องตอบกันบ่อย ๆ สำหรับโมเดลโลกแบน Antarctica ไม่ได้เป็นทวีปและไม่ได้อยู่ด้านล่างของโลก Antarctica คือขอบน้ำแข็งล้อมรอบโลกและมีพื้นที่ใหญ่มาก

ข้อสังเกต

1. ลักษณะเฉพาะตัวของน้ำ
พื้นที่ของ Antarctica ในโมเดลโลกแบนสัมพันธ์กับเงื่อนไขของน้ำที่มีอยู่ 70% ในโลก และน้ำมีคุณสมบัติเฉพาะตัว คือ

  • น้ำต้องมีภาชนะรองรับ (Water needs container.)
  • น้ำไม่สามารถเกาะกับวัตถุทรงกลมได้ (Water cannot cling to a sphere.)
  • หากวัตถุนั้นหมุนน้ำจะกระเซ็นออก (If that sphere spins, water always flies off.)
  • น้ำมีการรักษาระดับให้ราบเรียบอยู่เสมอ (Water always finds its level.)
2. การใช้งานของเข็มทิศ
ลักษณะของพื้นที่ Antarctica ในโมเดลโลกแบนยังสอดคล้องกับลักษณะการใช้งานของเข็มทิศเพื่อการเดินเรือ

Circumnavigating a FLAT EARTH for Dummies

3. ความสูงของผืนน้ำแข็งใน Antarctica

นี่คือภาพตัดของผืนน้ำแข็งในแอนตาร์คติกา จะเห็นชัดว่าผืนน้ำแข็งทางฝั่งตะวันออกจะสูงกกว่าทางฝั่งตะวันตก จากข้อมูลบอกว่า "The highest mountain summit is the Vinson Massif at 4,897 meters above sea level. The deepest known ice rests 2,555 meters below sea level, where the ice is over 4 kilometers thick." ยอดเขาที่สูงที่สุดคือ Vinson Massif สูงถึง 4,897 เมตรเหนือน้ำทะเล และผืนน้ำแข็งที่ลึกลงไปใต้มหาสมุทรในจุดที่ลึกที่สุดคือ 2,555 เมตร ในขณะที่มีความหนามากกว่า 4 กม.

4. ถ้าโลกกลมและแอนตาร์คติกาอยู่ด้านล่างของโลกก็น่าจะมีสารคดีที่ถ่ายทำนกเพนกวินเล่นน้ำในมุมกลับหัวมาให้ดูบ้าง 



-----------------------------------------------------------------------
#OperationHightJump
ที่ขั้วโลกใต้มีอะไร ทำไมทวีปแอนตาร์กติกาถึงต้องถูกปิดบัง ในเมื่อสนธิสัญญา Antarctica Treaty ที่ลงนามเมื่อเกือบ 60 ปีที่แล้วระบุว่าเพื่อวัตถุประสงค์ทางการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ แต่ทำไม google earth ถึงต้องปกปิดพื้นที่ทั้งหมด??

ถอดความมาจากคำสัมภาษณ์ของ Admiral Richard E. Byrd พลเรือเอก ริชาร์ด เบิร์ด เกี่ยวกับปฏิบัติการ Operation Highjump เมื่อปี 1947

In 1947 Secretary of the Navy James Forrestal sent a naval task force to Antarctic including Admiral Nimitz, Admiral Krusen and Admiral Byrd, called "Operation Highjump".

ในปี 1947 เลขาธิการแห่งกองทัพเรือ เจมส์ ฟอร์เรสทัล ได้ส่งกองกำลังทหารเรือไปแอนตาร์กติกา ซึ่งมี พลเรือเอก นิมิตซ์ พลเรือเอก ครูเซน และพลเรือเอก เบิร์ด ร่วมภารกิจในชื่อว่า "ปฎิบัติการกระโดดสูง" (Operation Highjump) การปฏิบัติการครั้งนี้มีเรือประมาณ 13 ลำเข้าร่วม (บางแหล่งข่าวให้ข้อมูลว่าส่งเรือไป 40 ลำ) พร้อมด้วยเครื่องบิน 33 ลำ และกองกำลังทหารอีก 4,700 นาย

THE SECRET LAND - Operation High Jump - Antarctica Expedition 1947

ในคลิปมีคำอธิบายวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการ Operation Highjump ในนาทีที่ 1.32 ว่า

"There is only one uncut reservoir of raw materials left in the world and that in the reach are known as Antarctica. An area larger than the combined area of the United States and Europe . American government is sending a naval expedition that reach. The purpose is to train our navy in polar operations so that it may better perform its function of preserving the peace upon the seven seas of the world. Beyond that the American government is seeking to do it fair in the discovery and the release of the world of the unknown treasures of Antarctica in the interest of all mankind".

#คำแปล
"มีแหล่งทรัพยากรสำหรับวัตถุดิบอยู่แห่งหนึ่งที่ยังไม่ได้รับการเจียระไน (หมายถึงยังไม่ได้ถูกนำเอาออกมาใช้) ที่เหลืออยู่เพียงแห่งเดียวในโลกนั่นคือที่แอนตาร์กติกา ซึ่งมีพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรปรวมกัน (ยุโรปมีขนาดพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตร.กม. และสหรัฐอเมริกามีพื้นที่ประมาณ 9 ล้านตร.กม.) รัฐบาลอเมริกันกำลังส่งกองกำลังทหารเรือเฉพาะกิจไปที่นั่น จุดประสงค์ก็เพื่อฝึกทหารเรือของเราสำหรับภารกิจขั้วโลกเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจในการปกปักรักษาความสงบเรียบร้อยในน่านน้ำทั้งเจ็ดของโลก นอกจากนั้นรัฐบาลอเมริกันกำลังดำเนินการเพื่อความยุติธรรมในการค้นพบและส่งต่อขุมทรัพย์แอนตาร์กติกาที่ยังไม่มีใครรู้แห่งนี้ให้เป็นผลประโยชน์กับมนุษยชาติทั้งมวล"

**หมายเหตุ**
ยุโรปมีขนาดพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตร.กม. และสหรัฐอเมริกามีพื้นที่ประมาณ 9 ล้านตร.กม. = 19,000,000 ตร.กม. แต่ข้อมูลปัจจุบันบอกว่า Antarctica มีขนาด 14,000,000 ตร.กม.
ส่วนคลิปนี้มีคำอธิบายบอกว่าแหล่งทรัพยากรที่ค้นพบในแอนตาร์กติกาคือแหล่งถ่านหินกองเป็นภูเขา (mountain of coal) จนตอนนี้ผ่านไป 60 ปี ชาวโลกก็ยังไม่รู้อยู่ดีว่าที่ Antarctica มีทรัพยากรอะไรบ้าง มีเฉพาะบางชาติที่ให้ความร่วมมือทางด้านวิจัยถึงจะรู้ข้อมูล

Warm Dry Land & Acre's of Coal for Heating Found in Antarctica

เอกสารนี้มาจากกลุ่ม G20 ซึ่งเป็นกลุ่มสมาชิกที่มีการรวมตัวกันระหว่าง EU และอีก 19 ประเทศ ตามรายชื่อนี้ Argentina, Australia, Brazil, Canada, China, France, Germany, India, Indonesia, Italy, Japan, Mexico, Republic of Korea, Republic of South Africa, Russia, Saudi Arabia, Turkey, United Kingdom, United States of America.


เอกสารนี้ระบุตำแหน่งและปริมาณแร่ธาตุต่าง ๆ ในแอนตาร์คติกา ถึงแม้ว่าตามข้อตกลงใน Antarctica Treaty เมื่อปี 1998 มีการลงนามร่วมกันว่าการขุดเหมืองแร่ในแอนตาร์คติกาเป็นเรื่องผิดกฎหมาย แต่ก็อาจจะมีการปรับเปลี่ยนกฎระเบียบใหม่ได้เพราะในข้อตกลงระบุไว้ว่า “If, after the expiration of 50 years any of the Antarctic Treaty Consultative Parties so requests, a conference shall be held as soon as practicable to review the operation of this Protocol”. แปลว่าหลังจากสิ้นสุดข้อตกลงการทำสนธิสัญญาที่มีอายุ 50 ปีไปแล้ว กลุ่มสมาชิกสามารถทำข้อตกลงกันใหม่ได้ ก็หมายความว่าระยะเวลาตอนนี้จนถึงปี 2048 การขุดเหมืองแร่ยังเป็นเรื่องผิดกฎหมาย แต่หลังจากปี 2048 ไปแล้วสมาชิกสามารถประชุมและกำหนดกฎระเบียบใหม่เองได้

--------------------------------------------------------