ว่าด้วยเรื่องระบบ GPS
ในคลิปนี้มีการอธิบายเรื่องระบบ GPS ที่ไม่มีติดตั้งมาในเรือสำราญลำนี้ นาทีที่ 3.06 มีคำอธิบายว่าระบบนำทางของเรือ Le Boreal เป็นระบบที่ดีที่สุดในโลกแต่ไม่มีระบบ GPS ติดมาด้วย กัปตันลาแมร์ไม่มีทางเลือก เขาต้องจัดการทุกอย่างด้วยตัวของเขาเอง "อย่างแรกเลยแผนที่ที่มามันยังมีที่ผิดอยู่ เราต้องย้อนกลับไปสู่อดีต อย่าไว้ใจอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแผนที่ดิจิตอลมากเกินไป โดยเฉพาะ GPS ระบบ GPS ให้ความถูกต้องได้แค่ 300 เมตร และเพียงแค่ 300 เมตรนั่นก็เป็นเรื่องใหญ่มากทีเดียว"
(นาทีที่ 3.06) Le Boreal's navigation system is among the best in the world but her GPS coordinates aren't adding up. Captain Lamer has no choice but literally chart his own course. First of all the chart is not so accurate and we need to come back in the past and don't trust too much all the computers and digital chart and especially GPS. GPS accuracy is 300 meters here. Then 300 meters is a big deal.
FLAT EARTH - GPS DOESN'T WORK AT HIGH SEAS -
VOYAGE OF A SHIP LE BOREAL TO ANTARCTICA
Sextant (กล้องวัดแดด) ของรัชกาลที่ 4 ที่พระองค์ใช้ในการดูดาว
ในนาทีที่ 11.00 ลูกเรือคนหนึ่งใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า sextant (หรือที่เรียกว่ากล้องวัดแดด เหมือนกับกล้องที่รัชกาลที่ 4 ใช้ประกอบการดูดาว) เพื่อวัดระยะทางระหว่างภูเขาน้ำแข็งที่เห็นกับเรือ ซึ่งเป็นระยะทางประมาณ 60 เมตร
วิธีการใช้เข็มทิศบนโมเดลโลกแบน
ระบบการระบุตำแหน่งของ GPS
ใช้ตัวจับสัญญาณ 3 จุดตัดกัน
เสาที่ 1) จับสัญญาณว่าผู้ใช้โทรศัพท์อยู่ตำแหน่งใดของวงกลม
เสาที่ 2) ช่วยระบุตำแหน่งให้แคบลง
เสาที่ 3) เป็นตัวระบุตำแหน่งที่แน่นอนอีกครั้งหนึ่ง
การกระจายสัญญาณต่าง ๆ ที่เราเข้าใจว่ามาจากดาวเทียมที่จริงแล้วมาจากโครงสร้างภาคพื้นดิน (ground-based structure) เช่น เสาสูง หรือตึกสูง
1500' TV Tower
ระบบอินเตอร์รอบโลกเชื่อมโยงกันด้วยสายเคเบิลใต้ท้องทะเล
A Journey To The Bottom Of The Internet
Submarine Cable Installation: Tools for Power, Telecom, and Seismic Cables (MakaiLay)
ว่าด้วยเรื่องระบบเรดาร์
The Plane Highway in the Sky
คลิปนี้อธิบายการใช้ระบบเรดาร์บนเครื่องบิน ในนาทีที่ 0.32 ในคลิปอธิบายถึงเส้นทางการบินจากนิวยอร์คไปลอนดอนว่ามันดูเป็นเส้นโค้งบนแผนที่ มันอาจจะไม่ได้ดูแปลกตาเท่าไหร่ แต่ถ้าไปดูเส้นทางการบินตรงจากนิวยอร์คไปกรุงเทพจะเห็นว่ามันโค้งสูงมากและพาดไปถึงขั้วโลกเหนือ แล้วถ้าเอามาเทียบกับแผนที่โลกที่เห็นด้านบนของขั้วโลกเหนือแบบนี้ ก็จะเห็นว่าเส้นทางการบินมันเป็นเส้นตรงและ make sense มากกว่า
เส้นทางการบินจากนิวยอร์คไปลอนดอน
เส้นทางบินตรงจากนิวยอร์มากรุงเทพ
เส้นทางการบินต้องบินโค้งขึ้นไปถึงขั้วโลกเหนือ
ถ้าดูจากแผนที่แบบ north-pole oriented map เส้นทางการบินจากนิวยอร์ค-กทม.จะบินผ่านขั้วโลกเหนือแบบนี้
นาทีที่ 1.12 อธิบายเรื่องกระแสลมกรด (Jet Stream) ซึ่งมีผลทำให้ระยะเวลาที่ใช้ในการบินไปและบินกลับแตกต่างกันหลายชั่วโมง อย่างเช่นถ้าบินจากนิวยอร์คไปลอนดอนปกติจะใช้เวลาประมาณ 6 ชม. 15 นาที แต่ตอนบินย้อนกลับจากลอนดอนมากนิวยอร์คกลับใช้เวลามากกว่า 7 ชม. เพราะเป็นการบินต้านลม ดังนั้นการกำหนดเส้นทางการบินจึงขึ้นอยู่กับทิศทางลมด้วย เพราะมันมีอิทธิพลโดยตรงกับค่าใช้จ่ายในการบินแต่ละเที่ยว
นาทีที่ 2.44 มีคำอธิบายเรื่องระบบการบินว่าจะมีการวางแผนการเดินทางและเส้นทางการบินล่วงหน้ามาจากหอควบคุมการบิน ระหว่างที่บินนักบินก็จะบังคับเครื่องให้บินตามเส้นทางตามที่สถานีควบคุมกำหนด และรักษาระยะห่างกับเครื่องบินลำอื่น ๆ ไว้ที่ 5 ไมล์ทะเล (nautical mile) ความแตกต่างระหว่างการบินจากนิวยอร์คไปชิคาโกและจากชิคาโกไปลอนดอนก็คือเราต้องบินเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก และกลางมหาสมุทรนั้นไม่มีเรดาร์ รัศมีของเรดาร์มีระยะทางแค่ 250 ไมล์ (400 กม.) จากชายฝั่ง
The Plane Highway in the Sky
https://www.youtube.com/watch?v=-aQ2E0mlRQI
https://www.youtube.com/watch?v=-aQ2E0mlRQI
(0.32 min.) From New York to London the curve you see on a flat map isn't too extreme. But in the case of longer flight, such as from New York to Bangkok, the most direct route is not this, but this - straight over the North Pole. It makes a lot more sense if you look at a North-Pole oriented map.
(1.12 min.) The North Atlantic also has something known as the Jet Stream. These easterly winds average around 110 mph and if planes fly in them, they can cut hours of their travel time. However, the winds are only strongest in a line 3 miles high (5 km) and 100 miles (160 km) wide. That further concentrates the flights. On average, an eastbound transatlantic flight from New York to London takes about 6 hours 15 minutes. Coming back against the jet stream, the same flight takes over 7 hours.
(2.44 min.) Before the flight, route planners file a plan with air traffic control and during the flight, they're just directed by air traffic control in a way that keeps them 5 nautical miles from other planes. The difference between New York to Chicago and New York to London is that, over the North Atlantic there is no radar. You see, radar only extends about 250 miles (400 km.) offshore.
ว่าด้วยเรื่องการใช้ Gyroscope และระบบดาวเทียม
เที่ยวบินนี้บินจากซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย บินไปบัวโน ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ในระหว่างที่ตากล้องคุยกับนักบิน อุปกรณ์ไจโรสโคป (Gyroscope) อยู่ในระดับราบเรียบกับพื้นดินตลอดเวลาที่บิน แสดงว่าเครื่องบินบินอยู่ในระดับเดียวกันตลอดเวลา ไม่ได้มีการปรับระดับให้โค้งตามความโค้งของโลกตามที่เชื่อกัน
Pilot Proves Flat Earth and Satellites Do NOT Exist.
ในตอนท้ายคลิปมีคำอธิบายว่า หากโลกกลมจริง ในระยะเวลา 10 นาทีที่คุยกับนักบินนั้น เครื่องบินต้องปรับระดับบินขึ้น (climb up) เพื่อให้โค้งขึ้นตามความโค้งของโลกประมาณ 2,000 เมตร (6,600 ฟุต) ตามภาพ
ว่าด้วยเรื่องการบังคับเครื่องบินโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม
นักบินอธิบายเรื่องการควบคุมเครื่องบิน โดยที่ข้อมูลทุกอย่างถูกกำหนดมาแล้วจากหอบังคับการบิน มี 3 ปัจจัยด้วยกันคือความเร็ว (speed) ระดับความสูง (altitude) และเวลา (time) เมื่อใส่ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แล้วเครื่องบินก็จะบินตามข้อกำหนดทุกอย่างเพื่อรักษาระดับการบินให้เป็นไปตามเวลา
100% PROOF GPS IS FAKE
https://www.youtube.com/watch?v=-9KilIIC8ck
https://www.youtube.com/watch?v=-9KilIIC8ck
นาทีที่ 0.28 นักบินเล่าให้ฟังเกี่ยวกับข้อมูลการบินในวันนี้ "เราจะบินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และด้วยข้อจำกัดทางเรดาร์จากหอบังคับการบิน (ATC) ดังนั้นเราจึงต้องบินตามเส้นทางอาจจะเรียกว่าเป็นถนนไฮเวย์บนท้องฟ้ายังงั้นก็ได้ สำหรับเครื่องบินทุกลำจะต้องบินห่างกัน 10 นาที ดังนั้นเราจะต้องบินด้วยความเร็วที่คงที่ข้ามมหาสมุทรนี้ไป และวันนี้ผมได้เลือกเส้นทางบินซึ่งจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย สำหรับเที่ยวบินวันนี้ที่จะไปนิวยอร์คเราเลือกที่จะบิน (อ้อม) เพื่อที่จะไม่สวนทิศทางลม (headwind) ดังนั้นเส้นทางการบินเลยจะออกไปทางทิศใต้เล็กน้อยเพื่อไม่ให้สวนทางลมที่มาเร็ว 200 น็อต ที่อยู่ทางด้านเหนือของมหาสมุทร ในอีกหนึ่งนาทีจากนี้เราจะขอคำยืนยันจากหอบังคับการบินสำหรับเส้นทางที่เราจะบินไปนิวยอร์คในวันนี้" ต่อด้วยการใส่ข้อมูลในระบบเพื่อกำหนดความเร็ว ความสูง และระยะเวลาในการบินตามเส้นทางที่เลือกไว้
On the way today to New York, we will cross the atlantic ocean. And there's limited for no radar coverage from Air Traffic Control (ATC). That's why we followed let's say highways in the sky for all aircrafts are separated from each other 10 min. So, we have to fly fixed speed over the ocean. And then, I've chosen in such a way that there are cost economical on our routine. Today, to New York we've tried to prevent the headwinds. And so at this time the tracks are very southern to prevent 200 knots headwinds northern part of the ocean. In a minute we gonna request a clearance from ATC for access today to New York.
------------------------------------------------------------------------------------------------------